Skip to content
GMOS Logo GMOS Logo
  • หน้าหลักHome
  • mapMap
  • วิเคราะห์ข้อมูลDashboard
    • วิเคราะห์ข้อมูลภาพรวม
    • วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก
  • บริการและเผยแพร่Service and publish
    • ภัยพิบัติ
    • เกษตร
    • ป่าไม้
    • ทะเลและชายฝั่ง
    • สังคมและวัฒนธรรม
  • เกี่ยวกับเราAbout Us
  • ติดต่อเราContact Us
  • เข้าสู่ระบบSign In

สังคมและวัฒนธรรม

สังคมและวัฒนธรรมRachchanon2019-07-12T16:37:42+07:00
  • รายงานประจำปี

  • โปสเตอร์

  • เซอร์วิส

  • แอปพลิเคชั่น

  • วิจัยและอื่นๆ

  • รายงานประจำปี

  • โปสเตอร์

  • เซอร์วิส

Suvarnabhumi

G Social

  • แอปพลิเคชั่น

เร็วๆ นี้

  • วิจัยและอื่นๆ

ติดต่อเรา

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
สำนักงานใหญ่ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เลขที่ 120
อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 6 และชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
สำนักประยุกต์และบริการภูมิสารสนเทศ
02-141-4554
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ
02-141-4536
ฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติ
02-141-4534
ฝ่ายเศรษฐกิจ
02-141-4553
ฝ่ายบริการผลิตภัณฑ์
02-141-4569
ฝ่ายความมั่นคงทางสังคม
02-141-4570
งานบริหารทั่วไป
02-141-4546

รายงานสรุปผล การวิเคราะห์สาเหตุประชาการมีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ 38,000 บาท/คน/ปี ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

ปีที่พิมพ์: 2560

สืบเนื่องจากประเด็นความเหลื่อมล้ำทางสังคมและการรักษาความมั่นคงของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทั้ง เรื่องที่ดิน น้้า ป่า มลพิษทางทะเลและกัดเซาะชายฝั่ง เป็นปัญหาที่ส้าคัญที่เกิดขึ้นในทุกสังคมและทุกพื้นที่ มีสาเหตุ มาจากทั้งปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์ สถานที่ สถานภาพของประชากร วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น รวมไปถึงผลที่เกิด จากการพัฒนาประเทศที่ขาดความสมดุล ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสังคม เพื่อมุ่งหวังก่อให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development) โดยเป็นการมองครอบคลุมทุกมิติ ทั้งในด้านกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ นโยบาย การเมือง และชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน ผ่านเทคโนโลยีที่เหมาะสม ร่วมกับกลไกต่าง ๆ ในชุมชน ซึ่ง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวได้ ในการนี้ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. โดย โครงการ ขับเคลื่อนวาระที่สำคัญของประเทศด้วยภูมิสารสนเทศ (PM สังคม) ได้ด้าเนินการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ลดความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่บนฐานการรักษาความมั่นคงของทรัพยากร (G-Social) ซึ่งเป็นระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจในทุกระดับ และสามารถวิเคราะห์เชิงภูมิสารสนเทศ ที่ทุกฝ่ายสามารถเข้าถึงได้ตามบทบาทหน้าที่เพื่อ ประโยชน์ต่อการวางแผน ก้าหนดนโยบาย การติดตามประเมินผลโครงการ การจัดสรรงบประมาณในระดับท้องถิ่น ตลอดจนการบริหารจัดการเชิงพื้นที่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพื่อนำไปสู่ การบูรณาการองค์ความรู้ เทคโนโลยี ตามรูปแบบ “ประชารัฐ” อีกทั้ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยส้านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA และกระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชน จัดให้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง ความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนและลดความเหลื่อมล้ำเชิง พื้นที่ เพื่อประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการวิเคราะห์ วางแผน ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาชุมชน สนับสนุนการแก้ไขปัญหาชุมชน ในมิติด้านเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน สังคมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ตามแนวนโยบายของรัฐ และเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง ภายในปี 2564 ตามแนวนโยบายของกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อสร้างความเป็นธรรมของชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ตลอดไป

ดาวน์โหลด

ตัวชี้วัด ก.พ.ร. : จำนวนผลงานด้านภูมิสารสนเทศที่เกิดจากการร่วมมือระหว่าง สทอภ. และหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/ชุมชน เพื่อแก้ปัญหาหรือสร้างประโยชน์ระดับประเทศ

ปีที่พิมพ์: 2561

สืบเนื่องจากประเด็นความเหลื่อมล้ำทางสังคมและการรักษาความมั่นคงของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทั้ง เรื่องที่ดิน น้้า ป่า มลพิษทางทะเลและกัดเซาะชายฝั่ง เป็นปัญหาที่ส้าคัญที่เกิดขึ้นในทุกสังคมและทุกพื้นที่ มีสาเหตุ มาจากทั้งปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์ สถานที่ สถานภาพของประชากร วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น รวมไปถึงผลที่เกิด จากการพัฒนาประเทศที่ขาดความสมดุล ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสังคม เพื่อมุ่งหวังก่อให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development) โดยเป็นการมองครอบคลุมทุกมิติ ทั้งในด้านกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ นโยบาย การเมือง และชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน ผ่านเทคโนโลยีที่เหมาะสม ร่วมกับกลไกต่าง ๆ ในชุมชน ซึ่ง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวได้ ในการนี้ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. โดย โครงการ ขับเคลื่อนวาระที่สำคัญของประเทศด้วยภูมิสารสนเทศ (PM สังคม) ได้ด้าเนินการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ลดความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่บนฐานการรักษาความมั่นคงของทรัพยากร (G-Social) ซึ่งเป็นระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจในทุกระดับ และสามารถวิเคราะห์เชิงภูมิสารสนเทศ ที่ทุกฝ่ายสามารถเข้าถึงได้ตามบทบาทหน้าที่เพื่อ ประโยชน์ต่อการวางแผน ก้าหนดนโยบาย การติดตามประเมินผลโครงการ การจัดสรรงบประมาณในระดับท้องถิ่น ตลอดจนการบริหารจัดการเชิงพื้นที่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพื่อนำไปสู่ การบูรณาการองค์ความรู้ เทคโนโลยี ตามรูปแบบ “ประชารัฐ” อีกทั้ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยส้านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA และกระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชน จัดให้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง ความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชนและลดความเหลื่อมล้ำเชิง พื้นที่ เพื่อประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการวิเคราะห์ วางแผน ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาชุมชน สนับสนุนการแก้ไขปัญหาชุมชน ในมิติด้านเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน สังคมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ตามแนวนโยบายของรัฐ และเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง ภายในปี 2564 ตามแนวนโยบายของกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อสร้างความเป็นธรรมของชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ตลอดไป

ดาวน์โหลด

ตัวชี้วัด วท. : จำนวนประเด็นนโยบายในระดับประเทศที่ใช้เทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการกำหนดและ/หรือสนับสนุนการขับเคลื่อน

ปีที่พิมพ์: 2561

สืบเนื่องจากประเด็นปัญหาภัยแล้ง ภัยน้ำท่วม น้ำหลาก ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นภัยธรรมชาติประจำปี ของประเทศไทย ช่วงฤดูแล้ง มีปัญหาขาดแคนน้ำ ช่วงฤดูฝน เกิดน้ำท่วม น้ำหลาก เข้าท่วมพื้นที่เมือง ที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม และทำลายเส้นทางคมนาคม ส่งผลกระทบความเสียหายในวงกว้าง ซึ่งการ จัดการทรัพยากรน้ำและลุ่มน้ำตามแนวทางการพัฒนาประเทศที่ผ่านมานั้น มุ่งเน้นการจัดหาแหล่งน้ำ การจัดหาน้ำ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเส้นทางคมนาคมขนส่ง รวมถึงการนำทรัพยากรในพื้นที่ลุ่มน้ำมาใช้ ตอบสนองความต้องการทางเศรษฐกิจ ซึ่งในบางครั้งกลายเป็นตัวเร่งให้เกิดความเสื่อมโทรมในระบบนิเวศและ พื้นที่ลุ่มน้ำอย่างหนัก ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ รวมถึงปริมาณ คุณภาพน้ำ และ ภัยพิบัติต่าง ๆ จากประเด็นปัญหาและความจำเป็นเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาด้านน้ำของประเทศแบบองค์รวม และยั่งยืน การพัฒนาระบบและกลไกการสนับสนุนการตัดสินใจการบริหารจัดการโครงการด้านน้ำ นำไปสู่การ วิเคราะห์และกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ลุ่ม ทรัพยากรน้ำของประเทศที่มีประสิทธิภาพ ตามข้อสั่งการ ของนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2560 ณ ทำเนียบรัฐบาล และ วันที่ 26 มกราคม 2560 ณ กองบัญชาการฯ (ส่วนหน้า) จังหวัดสุราษฏร์ธานี ให้หน่วยที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะกรมโยธาธิการและผังเมือง กรมชลประทาน สสนก. และ สทอภ. ร่วมปฏิบัติการวางแผนแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอย่างยั่งยืนนั้น ในการนี้ สทอภ. จึงได้ดำเนินกิจกรรมนโยบายบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศให้เป็นเอกภาพ ในทุกมิติทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจการ บริหารจัดการโครงการด้านน้ำของประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการน้ำตามแนวทางพระราชดำริ ขึ้น และส่งเสริมขับเคลื่อนการดำเนินงานให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น โดยเน้นการดำเนินงานมีส่วนร่วมแบบกลไก ประชารัฐ ดังภาพที่ 1 แนวทางการขับเคลื่อนเชิงนโยบายตามภารกิจพิเศษ (PM สังคม)

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด