Skip to content
GMOS Logo GMOS Logo
  • หน้าหลักHome
  • mapMap
  • วิเคราะห์ข้อมูลDashboard
    • วิเคราะห์ข้อมูลภาพรวม
    • วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก
  • บริการและเผยแพร่Service and publish
    • ภัยพิบัติ
    • เกษตร
    • ป่าไม้
    • ทะเลและชายฝั่ง
    • สังคมและวัฒนธรรม
  • เกี่ยวกับเราAbout Us
  • ติดต่อเราContact Us
  • เข้าสู่ระบบSign In

ภัยพิบัติ

ภัยพิบัติRachchanon2019-10-22T09:35:27+07:00
  • รายงานประจำปี

  • โปสเตอร์

  • เซอร์วิส

  • แอปพลิเคชั่น

  • วิจัยและอื่นๆ

  • รายงานประจำปี

  • โปสเตอร์

  • เซอร์วิส

Web Map Services of GFMS

Web Map Service จาก Geoserver

จุดเหตุการณ์ทางด้านป่าไม้จากแหล่งข่าว

จุดเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ป่าจากการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม

จุดสำรวจภาคสนาม

  • แอปพลิเคชั่น

ระบบแผนที่ติดตามพื้นที่น้ำท่วมจากข้อมูลดาวเทียม

Thailand Drought Monitoring System

Thailand Fire Monitoring System

  • วิจัยและอื่นๆ

เร็วๆ นี้

ติดต่อเรา

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
สำนักงานใหญ่ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เลขที่ 120
อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 6 และชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
สำนักประยุกต์และบริการภูมิสารสนเทศ
02-141-4554
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ
02-141-4536
ฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติ
02-141-4534
ฝ่ายเศรษฐกิจ
02-141-4553
ฝ่ายบริการผลิตภัณฑ์
02-141-4569
ฝ่ายความมั่นคงทางสังคม
02-141-4570
งานบริหารทั่วไป
02-141-4546

รายงานสรุปสถานการณ์ไฟป่าหมอกควันจากข้อมูลระบบ MODIS พื้นที่เผาไหม้จากข้อมลูภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT – 8 ประจ าปี 2558

เดือน/ปีที่พิมพ์: มิถุนายน 2561

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) หรือ GISTDA ได้ดำเนินการใช้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พืชเศรษฐกิจ ด้านความมั่นคงและ สาธารณสุข อีกทั้งได้ดำเนินการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านภัยพิบัติ โดยเฉพาะในเดือน มกราคม ถึง เมษายน ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูกาลเกิดไฟป่า ทำให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากหมอกควัน อันเกิดจากการเผาในที่โล่งเพื่อเตรียมพื้นที่เกษตรกรรม และในบางกรณีเกิดจากการเผาปุาเพื่อล่าสัตว์ ซึ่งเป็น การเผาโดยไม่มีการควบคุม ทำให้ไฟปุาเผาไหม้เป็นบริเวณกว้าง เกิดหมอกควันปกคลุมพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะ ในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ของประเทศเป็นต้น ในปี พ.ศ. 2558 สทอภ. ได้เล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำในพื้นที่ 10 จังหวัดภาคเหนือ ดังนั้น สทอภ. จึงได้สนับสนุนทั้งบุคคลากร อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลที่สำคัญ ซึ่งเป็นข้อมูลจุดความร้อนรายวัน รายสัปดาห์ พื้นที่เผาไหม้ราย 16 วัน และแบบจ าลองคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่าล่วงหน้า 7 วัน เพื่อใช้ใน การเฝ้าระวัง ช่วยเหลือ และประเมินความเสียหายในพื้นที่เป้าหมาย โดยใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมร่วมกับ ข้อมูลภูมิสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งข้อมูลดังกล่าวได้ถูกนำส่งข้อมูลผ่านทาง e-mail เพื่อให้หน่วยงานใน พื้นที่สามารถเจ้าถึงข้อมูลได้อย่างทั่วถึง และนำไปใช้ในการบริหารจัดการไฟป่าได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ดาวน์โหลด

รายงานสรุปสถานการณ์ไฟป่าหมอกควันจากข้อมูลระบบ MODIS พื้นที่เผาไหม้จากข้อมลูภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT – 8 ประจำปี 2559

เดือน/ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) หรือ GISTDA ได้ดำเนินการใช้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พืชเศรษฐกิจ ด้านความมั่นคงและ สาธารณสุข อีกทั้งได้ดำเนินการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านภัยพิบัติ โดยเฉพาะในเดือน มกราคม ถึง เมษายน ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูกาลเกิดไฟป่า ทำให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากหมอกควัน อันเกิดจากการเผาในที่โล่งเพื่อเตรียมพื้นที่เกษตรกรรม และในบางกรณีเกิดจากการเผาปุาเพื่อล่าสัตว์ ซึ่งเป็น การเผาโดยไม่มีการควบคุม ทำให้ไฟปุาเผาไหม้เป็นบริเวณกว้าง เกิดหมอกควันปกคลุมพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะ ในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ของประเทศเป็นต้น ในปี พ.ศ. 2558 สทอภ. ได้เล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำในพื้นที่ 10 จังหวัดภาคเหนือ ดังนั้น สทอภ. จึงได้สนับสนุนทั้งบุคคลากร อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลที่สำคัญ ซึ่งเป็นข้อมูลจุดความร้อนรายวัน รายสัปดาห์ พื้นที่เผาไหม้ราย 16 วัน และแบบจ าลองคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่าล่วงหน้า 7 วัน เพื่อใช้ใน การเฝ้าระวัง ช่วยเหลือ และประเมินความเสียหายในพื้นที่เป้าหมาย โดยใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมร่วมกับ ข้อมูลภูมิสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งข้อมูลดังกล่าวได้ถูกนำส่งข้อมูลผ่านทาง e-mail เพื่อให้หน่วยงานใน พื้นที่สามารถเจ้าถึงข้อมูลได้อย่างทั่วถึง และนำไปใช้ในการบริหารจัดการไฟป่าได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ดาวน์โหลด

สรุปสถานณ์ไฟป่าและหมอกควันด้วยภาพถ่ายจากดาวเทียม ประจำปี พ.ศ. 2560

เดือน/ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2560

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. ได้ดำเนินการใช้ เทคโนโลยีภูมิสำรสนเทศ เพื่อการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกษตรกรรม ความมั่นคง สาธารณสุข รวมทั้งด้ำนภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในประเทศ ซึ่งไฟป่าและหมอกควันเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในช่วงเดือน มกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม เนื่องจากเกิดหมอกควัน ปกคลุม โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันตก ของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2560 สทอภ. ได้เล็งเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ ดังนั้น สทอภ. จึงได้สนับสนุนทั้งบุคลากร อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลที่สำคัญ ประกอบด้วย ข้อมูลจุดความร้อน รายวัน รายสัปดาห์ พื้นที่เผาไหม้ราย 16 วัน และแบบจำลองคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่าล่วงหน้า 7 วัน โดย ใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมร่วมกับข้อมูลภูมิสำรสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการเฝ้าระวัง ช่วยเหลือ และ ประเมินความเสียหายในพื้นที่เป้าหมาย โดยชุดข้อมูลดังกล่าวได้ถูกนำส่งให้เจ้าหน้าที่ในพื้นที่และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องนำไปใช้ เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล วิเคราะห์ สั่งการ และปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ สทอภ. ได้ ปรับปรุง พัฒนา เครื่องมือ ระบบการให้บริกำร จากเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อสามารถ นำไปใช้ในการบริหารจัดการไฟป่าและหมอกควันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดาวน์โหลด

สรุปสถานณ์ไฟป่าและหมอกควันด้วยภาพถ่ายจากดาวเทียม ประจำปี พ.ศ. 2561

เดือน/ปีที่พิมพ์: สิงหาคม 2561

จากวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ของ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ มหาชน) : สทอภ. นำคุณค่าจากอวกาศเพื่อพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน (Delivering Values From Space) พัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศให้เป็นความรู้ไร้พรมแดนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ จึงได้ดำเนินการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อการจัดการด้านไฟป่าและหมอกควัน ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในช่วง เดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม เนื่องจากเกิดหมอกควันปกคลุม โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือ ของประเทศไทย ในปี 2561 สทอภ. ได้ดำเนินการติดตามสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันในภาพรวมทั้งประเทศ และ เน้นให้ความสำคัญในพื้นที่เสี่ยง 9 จังหวัดภาคเหนือ โดยอาศัยข้อมูลจากดาวเทียมระบบ MODIS เป็นหลัก มีการสนับสนุนทั้งบุคลากร อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลที่สำคัญ ประกอบด้วย ข้อมูลจุดความร้อนรายวัน รายสัปดาห์ พื้นที่เผาไหม้ราย 16 วัน และแบบจำลองคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่าล่วงหน้า 7 วัน รวมถึงการ ใช้ดาวเทียมระบบ VIIRS ซึ่งมีรายละเอียดที่ชัดเจนมากขึ้น ในการติดตามพื้นที่เผาไหม้ที่มีขนาดเล็ก เพื่อใช้ในการลงพื้นที่เข้าดับไฟได้ก่อนที่จะลุกลามเป็นไฟขนาดใหญ่ และโมบายแอปพลิเคชัน (Forest Fire Application) เป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่ง ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศในการติดตามสถานการณ์ที่เป็นชุดข้อมูลเดียวกัน สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ใน ทุกที่ รวดเร็ว รวมถึงหากพบเห็นไฟไหม้ สามารถแจ้งเหตุการณ์เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบและเข้าถึง พื้นที่เพื่อการดับไฟได้ทันท่วงที ก่อนที่จะลุกลามเป็นไฟขนาดใหญ่ และส่งผลกระทบกับคน ชุมชน และสร้าง ความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติ สทอภ. ขอขอบคุณหน่วยงานทุกภาคส่วน ที่ให้ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศไปใช้ใน การบริหารจัดการไฟป่า และหมอกควันเชิงพื้นที่ และยินดีรับคำแนะนำ ข้อคิดเห็นจากผู้ใช้ข้อมูล ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการพัฒนาและปรับปรุงรายงานฉบับต่อไป ทั้งนี้หากสนใจข้อมูลเพิ่มเติม สามารถเข้าไป ค้นหาได้ที่ http://fire.gistda.or.th หรือระบบผลิตแผนที่กลางแบบออนไลน์ http://gmos.gistda.or.th

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลด