ภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat-8 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 เวลา 10.24 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีน้ำเงิน) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร

———————————————————————————————–

ภาพถ่ายจาก SENTINEL-1 เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2562 เวลา 18.12 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่บางจังหวัดของอุบลราชธานี ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ ยโสธร สุรินทร์ นครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และอำนาจเจริญ รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 224,906 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร

———————————————————————————————–

ภาพถ่ายจาก SENTINEL-1 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2562 เวลา 18.22 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่บางจังหวัดของนครราชสีมา ปราจีนบุรี มหาสารคาม บุรีรัมย์ สุรินทร์ และสระแก้ว รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 39,552 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร

———————————————————————————————–

ภาพถ่ายจาก COSMO-Skymed-2 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2562 เวลา 05.52 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่บางจังหวัดของร้อยเอ็ด อุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ กาฬสินธุ์ นครพนม อำนาจเจริญ มหาสารคาม และสกลนคร รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 159,024 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจาก COSMO-Skymed-4 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2562 เวลา 17.35 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่บางอำเภอของร้อยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 272,524 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจรบางสาย ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th หรือ https://gmos.gistda.or.th/

 

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Thiaichote ของวันที่ 26 กันยายน 2562 แสดงพื้นที่น้ำท่วมบางส่วนบริเวณจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 147,838 ไร่ และจังหวัดศรีษะเกษ 53,987 ไร่ โดยการทำภาพถ่ายทั้ง True Color (สีผสมจริง) และ Fault Color (สีผสมเท็จ) เพื่อทำให้เห็นถึงพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมชัดเจนมากยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่จะกระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์http://flood.gistda.or.th หรือ https://gmos.gistda.or.th/

 

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียมSENTINEL-1 ของวันที่ 23 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 18.13 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 486,950 ไร่

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียมSENTINEL-1 ของวันที่ 22 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 18.20 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 234,965 ไร่

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Thaichote ของวันที่ 21 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 09.51 น. ปรากฎพื้นที่น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัดอุบลราชธานี ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Cosmo-skymed-1 ของวันที่ 20 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 05.52 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 572,724 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Cosmo-skymed-3 ของวันที่ 18 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17.41 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของของจังหวัดอำนาจเจริญ ยโสธร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 262,896 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Cosmo-skymed-2 ของวันที่ 18 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06.35 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของของจังหวัดพิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก นครสวรรค์ เพชรบูรณ์และอุตรดิตถ์ รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 462,913 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Cosmo-skymet-4 ของวันที่ 16 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17.46 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของของจังหวัดเพชรบูรณ์ และพิจิตร รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 46,060 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์  http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม Cosmo-skymet-2 ของวันที่ 16 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 05.28 น.

พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 511,414 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางคมนาคม

จิสด้า ยังคงร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป
ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม SENTINEL-1 ของวันที่ 11 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 18:13 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 1,053,762 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางคมนาคม
จิสด้า ยังคงร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป
ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

ภาพถ่ายจากดาวเทียม SENTINEL-1 ของวันที่ 10 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 18:20 น. พบพื้นที่น้ำท่วมบางส่วน (สีฟ้า) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 434,625 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางคมนาคม
จิสด้า ยังคงร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป
ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

จิสด้าเผยภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-1 ของวันที่ 10 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06.04 น. ในบริเวณบางส่วนของจังหวัดพิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์ รวมเนื้อที่ได้ความเสียหายประมาณ 544,344 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร โดยมวลน้ำทั้งหมดนี้จะไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาต่อไป ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

จิสด้าเผยภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม SENTINEL-1 ของวันที่ 5 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 18:21 น. ในบริเวณบางส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมเนื้อที่ได้ความเสียหายประมาณ 1,540,767 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยและเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

จิสด้าเผยภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม Cosmo-skymed- 4 ของวันที่ 5 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17:41 น. ในบริเวณบางส่วนของจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร และมุกดาหาร รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 347,720 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อยทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่องครับ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

จิสด้าเผยภาพรวมพื้นที่น้ำท่วมทั้งประเทศ (สีแดง) จากข้อมูลดาวเทียม COSMO-SkyMed  และ Sentinel  ตั้งแต่วันที่ 29 สิงหาคม 2562 –  วันที่ 4 กันยายน 2562 โดยมีพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายทั้งสิ้น 2,350,035 ไร่ ซึ่งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,672,890 ไร่ ภาคกลาง 547,752 ไร่ และภาคเหนือ 129,411 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำ และพื้นที่ลุ่มการเกษตร บริเวณริมแม่น้ำสายหลัก ลำน้ำย่อย  และเส้นทางการจราจร ทั้งนี้ จิสด้า ร่วมเกาะติดสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน ติดตาม สำรวจ และตรวจสอบในพื้นที่จริง เพื่อหาทางบรรเทาและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น รวมถึงแก้ไขปัญหาต่อไป ท่านสามารถตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวจากเว็บไซต์ http://flood.gistda.or.th

—————————————————————————————–

จิสด้าเผยภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม Cosmo-skymed 1 ของวันที่ 4 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17.52 น. ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุโพดุล ในบริเวณบางส่วนของจังหวัดพิจิตร นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 202,289 ไร่  ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

————————————————————————————————————————–

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม Cosmo-skymed 1 ของวันที่ 3 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17:35 น. ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุโพดุล ในบริเวณบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด ยโสธร กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม สุรินทร์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ มุกดาหาร และมหาสารคาม ตามลำดับ รวมเนื้อที่ได้ความเสียหายประมาณ 506,789 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

————————————————————————————————————————–

พื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม Cosmo-skymed 2 ของวันที่ 3 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06:22 น. ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุโพดุล ในบริเวณบางส่วนของจังหวัดพิจิตร นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 134,281 ไร่ ส่วนใหญ่กระจายในที่ลุ่มพื้นที่การเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

———————————————————————————————————————————————

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-4 เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06.23 น. ซึ่งได้รับผลกระทบน้ำท่วมจังหวัดพิจิตร พษุโลก สุโขทัย นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ แพร่  รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 336,046 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

——————————————————————————————————————————————————————————————

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-2 เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06.05 น. ซึ่งได้รับผลกระทบน้ำท่วมจังหวัดพะเยา เชียงราย และแพร่  รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 84,006 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

——————————————————————————————————————————————————————————————-

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-2 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 17.47 น. ซึ่งได้รับผลกระทบน้ำท่วมจังหวัด นครราชสีมา มหาสารคาม ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย สกลนคร กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ บึงกาฬ สุรินทร์ รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 432,956 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

——————————————————————————————————————————————————————————————-

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-4 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06.05 น. ซึ่งได้รับผลกระทบน้ำท่วมจังหวัดพะเยา เชียงราย และแพร่  รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 93,926 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

——————————————————————————————————————————————————————————————-

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-4 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2562 เมื่อเวลา 06.04 น. ซึ่งได้รับผลกระทบน้ำท่วมจังหวัดอำนาจเจริญ อุบลราชธานี ยโสธร มุกดาหาร นครพนม สกลนคร ศรีษะเกษ  รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 158,4687ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-4 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2562 เมื่อเวลา 17.46 น. ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุโพดุลบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย  รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 767,431 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ภาพพื้นที่น้ำท่วม (สีฟ้า) จากภาพถ่ายดาวเทียม COSMO-Skymed-4 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2562 เมื่อเวลา 06.16 น. ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุโพดุลบริเวณจังหวัดมาหสารคาม นครราชสีมา ขอนแก่น บุรีรนัมย์ ชัยภูมิ อุดรธานี กาฬสินธุ์ และสุรินทร์  รวมเนื้อที่ได้ความเสียประมาณ 294,313 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มการเกษตร และบริเวณริมแม่น้ำสายหลักและลำน้ำย่อย

ติดตามสถานการณ์น้ำท่วม
ได้ที่ http://flood.gistda.or.th/